2566
2567
2568
2566
ห้องสมุดสีเขียวมีหน้าที่ในการให้บริการความรู้ตามบริบทและนโยบายขององค์กร โดยเพิ่มเติมในส่วนของการให้บริการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และมีการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้เพียงพอและพร้อมใช้
โดยมีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้ ดังนี้
3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้
(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
– สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผ่านช่องทางออนไลน์ (Google Forms)
– สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ จากงานตลาดนัดการเรียนรู้ กิจกรรม Book Fair
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
– สรุปผลการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ เพื่อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ
– แผนการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
– นโยบายการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่ เกี่ยวข้องทั้งหมด แสดงประเภท ปีพิมพ์ กลุ่มผู้รับบริการ และรายละเอียดบรรณานุกรมที่จำเป็น เช่น ผู้แต่ง หน่วยงานที่จัดพิมพ์ สำนักพิมพ์ ฯลฯ โดยแยกตามปีที่จัดหา
– ประกาศนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๗
– โครงการงบประมาณจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ
– รายงานแสดงจำนวนทรัพยากรสารสนเทศฯ ที่จัดหาได้ในแต่ละปี (เพิ่มขึ้นอย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ)
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแสดงประเภท ปีพิมพ์ และรายละเอียดบรรณานุกรมที่จําเป็น เช่น ผู้แต่ง หน่วยงานที่จัดพิมพ์สํานักพิมพ์ฯลฯ โดยแยกตามปีที่จัดหา และแสดงจํานวนรวมของทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาได้ในแต่ละปี
+ รายชื่อหนังสือ 2565
+ รายชื่อหนังสือ 2566
+ รายชื่อหนังสือ 2567
– การจัดหาอาจเป็นการจัดซื้อ การขอรับบริจาค รวมถึง การรวบรวม ทรัพยากรสารสนเทศที่มีการเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้
3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้
(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น
– แสดงรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดบรรณานุกรมเลขหมู่ หรือ หมวดหมู่ คําสําคัญ คําศัพท์เฉพาะ แยกตามปีที่จัดหา โดยแสดงเป็นรายการข้อมูลจากการประมวลผล หรือ แสดงผลการสืบค้นผ่านระบบ
(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา
– แสดงรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดบรรณานุกรมเลขหมู่ หรือ หมวดหมู่ คําสําคัญ คําศัพท์เฉพาะ แยกตามปีที่จัดหา โดยแสดงเป็นรายการข้อมูลจากการประมวลผล หรือ แสดงผลการสืบค้นผ่านระบบ
(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
– แสดงตัวอย่าง รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ตามหลักฐานอ้างอิงข้อ (1)– (2) พร้อมกับภาพทรัพยากรสารสนเทศที่พร้อมให้บริการ
(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
– มีระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ Web OPAC
– Discovery services (WorldCat, EDS) กรณีที่เป็น e-Contents ได้แก่ e-Journals, e-Books, e-Newspapers
– ผู้ตรวจประเมินทดลองสืบค้นข้อมูลผ่านระบบ หรือเลือกดูจากรายชื่อ และสุ่มตัวอย่างการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศตามรายการที่เลือก
3.2 ให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
โดยมีการให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้
3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่าง ๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ
– ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่าง ๆ
– การจัดแสดงหนังสือพร้อมรายชื่อหนังสือที่จัดแสดงในมุม OARIT Green Library Corner
(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
– รายงานผลการตรวจสอบสภาพทรัพยากรสารสนเทศและความพร้อมใช้ ทั้งในรูปตัวเล่มและอิเล็กทรอนิกส์
(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
– รายงานสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์เฉพาะทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมหรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ความถี่ในการรายงานให้เป็นไปตามความเหมาะสม)
(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้
(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
(2) ปลอดภัย
(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– แผนงานการจัดการพื้นที่บริการ ผลการตรวจวัดและรายการตรวจสอบพื้นที่ประจําวัน เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนด (1) – (4)
– จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– ผลประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
2567
ห้องสมุดสีเขียวมีหน้าที่ในการให้บริการความรู้ตามบริบทและนโยบายขององค์กร โดยเพิ่มเติมในส่วนของการให้บริการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และมีการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้เพียงพอและพร้อมใช้
โดยมีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้ ดังนี้
3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้
(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
– สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผ่านช่องทางออนไลน์ (Google Forms)
– สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ จากงานตลาดนัดการเรียนรู้ กิจกรรม Book Fair
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
– เกณฑ์การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด
– จัดหาตามแผนปฏิบัติงาน งานวิทยบริการ
– จัดหาตามแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (Green Library)
– รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดซื้อหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง และทรัพยากรการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยแยกตามปีงบประมาณที่จัดหา หลักฐานอ้างอิงข้อ (3) – (4)
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยแยกตามปีงบประมาณที่จัดหา
– ปริมาณการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่จัดหาในแต่ละปี
3.1.3 จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้พร้อมใช้และสามารถค้นคืนได้โดยง่าย ดังนี้
(1) มีการจัดหมวดหมู่ กำหนดคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ เพื่อความสะดวกในการสืบค้น
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดบรรณานุกรมเลขหมู่ หรือ หมวดหมู่ คําสําคัญ คําศัพท์เฉพาะ แยกตามปีที่จัดหา
(2) ลงรายการบรรณานุกรมและบันทึกข้อมูล หรือจัดทำรายชื่อเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา
– รายการข้อมูลจากการประมวลผล หรือ แสดงผลการสืบค้นผ่านระบบ OPAC
(3) จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมสำหรับให้บริการ
– ตัวอย่างรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับภาพทรัพยากรสารสนเทศที่พร้อมให้บริการ
– จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศสำหรับให้บริการ
(4) ผู้รับบริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่มี Link OPAC เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้โดยง่าย
– จุดบริการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเอง
3.2 ให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
โดยมีการให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้
3.2.1 ส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(1) ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่าง ๆ ถึงผู้รับบริการ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ
– ประชาสัมพันธ์บริการ และแนะนำทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทางต่าง ๆ
– การจัดแสดงหนังสือพร้อมรายชื่อหนังสือที่จัดแสดงในมุม OARIT Green Library Corner
(2) ตรวจสอบสภาพและจัดการทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมบริการอยู่เสมอ
– รายงานผลการตรวจสอบสภาพทรัพยากรสารสนเทศและความพร้อมใช้ ทั้งในรูปตัวเล่มและอิเล็กทรอนิกส์
(3) จัดทำสถิติการยืมหรือการใช้ประโยชน์ทรัพยากรสารสนเทศ
– สถิติการยืมทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมหรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง
(4) นำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3.2.2 จัดพื้นที่บริการ ให้สอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว ดังนี้
(1) สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
– จัดพื้นที่ให้บริการ สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
(2) ปลอดภัย
– แผนการดูแลบำรุงรักษา เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร และพรมปูพื้นห้อง
– จัดพื้นที่ห้องสำหรับจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
– ใบรับรองผู้ตรวจวัดแสง ใบรับรองเครื่องมือวัดแสง เครื่องมือวัดความเข้มแสง
– รายงานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง ปี 2567 ครั้งที่ 1
– รายงานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง ปี 2567 ครั้งที่ 2
– การทำความสะอาดพื้นที่บริการ
– การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง
– แนวทางการป้องกันและการควบคุมสัตว์พาหะ
(3) ประหยัดพลังงานและทรัพยากร
– เป้าหมายและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ประจำปี พ.ศ.2567
– สร้างความตระหนักในการใช้น้ำ ผ่านป้ายสติ๊กเกอร์ประชาสัมพันธ์รณรงค์ลดการใช้น้ำ
– ตรวจสอบการรั่วซึมของก๊อกน้ำและสายชำระ
– ตรวจสอบการรั่วซึมของท่อน้ำ
– ปิดก๊อกน้ำให้สนิททุกครั้งหลังใช้งาน
– การนําขวดน้ําหรือแก้วที่มีน้ําเหลืออยู่ นํามารดน้ําต้นไม้
– การจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
– ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน
– ป้ายรณรงค์การใช้ไฟฟ้า ผ่านสติ๊กเกอร์ประชาสัมพันธ์
– เปิดเครื่องปรับอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศา และกำหนดเวลาเปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศ
– ส่งเสริมให้เดิน ขึ้น-ลง บันได แทนการใช้ลิฟท์
– การจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
– ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน
– การติดต่อสื่อสารด้วยโทรศัพท์, จดหมายอิเล็กทรอนิกส์, Line Application เพื่อแจ้งข่าวสารต่าง ๆ ของสํานักวิทยบริการฯ
– การจัดส่งเอกสารหรือระบบงานสารบรรณภายในสํานักงานวิทยบริการฯ จะใช้ระบบ e-document เพื่อเป็นการลดการใช้กระดาษ
– การจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
– ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน
(4) จัดพื้นที่บริการโดยสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– แผนงานการจัดการพื้นที่บริการ ผลการตรวจวัดและรายการตรวจสอบพื้นที่ประจําวัน เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนด (1) – (4)
– จัดมุม OARIT Green Library Corner และจัดแสดงหนังสือเกี่ยวกับพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
– ปลูกต้นไม้ฟอกอากาศและจัดทำ QR Code นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับต้นไม้ฟอกอากาศ
– ผลประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
2568
ห้องสมุดสีเขียวมีหน้าที่ในการให้บริการความรู้ตามบริบทและนโยบายขององค์กร โดยเพิ่มเติมในส่วนของการให้บริการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และมีการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
โดยมีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้ ดังนี้
3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง ให้เพียงพอและพร้อมใช้
3.1.1 จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการดังนี้
(1) สำรวจความต้องการของผู้รับบริการ
การสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-Document)
การสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผ่าน facebook แผนกงานห้องสมุด มทร.อีสาน นครราชสีมา
การสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์พื้นที่บริการชั้น 1-6 และ CL-Park
การสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผ่านเว็บไซต์แผนกงานห้องสมุด https://library.oarit.rmuti.ac.th/lib2/
เลือกเมนู “เสนอความต้องการ” แล้วเลือก เสนอรายชื่อหนังสือ และ E-Bookจัดงานตลาดนัดการเรียนรู้ กิจกรรม Book Fair
(2) จัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับนโยบายของห้องสมุด
สรุปผลการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ เพื่อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ
แผนการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
นโยบายการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
(3) ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย
– รายงานผลการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศฯ นำเสนอ 5 เรื่อง
สอดคล้องกับนโยบายห้องสมุด
สอดคล้องกับความต้องการ
มีความทันสมัย
มีความหลากหลาย
มีความเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดซื้อหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทรัพยากรการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2566
รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดซื้อหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทรัพยากรการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2565
รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดซื้อหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทรัพยากรการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2564
รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดซื้อหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทรัพยากรการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2563
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่ เกี่ยวข้องทั้งหมด แสดงประเภท ปีพิมพ์ กลุ่มผู้รับบริการ และ – รายละเอียดบรรณานุกรมที่จำเป็น เช่น ผู้แต่ง หน่วยงานที่จัดพิมพ์ สำนักพิมพ์ ฯลฯ โดยแยกตามปีที่จัดหา
– ประกาศนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๗
– โครงการงบประมาณจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ(4) ทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
3.1.2 ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ
– รายงานแสดงจำนวนทรัพยากรสารสนเทศฯ ที่จัดหาได้ในแต่ละปี (เพิ่มขึ้นอย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ)
– รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแสดงประเภท ปีพิมพ์
และรายละเอียดบรรณานุกรมที่จําเป็น เช่น ผู้แต่ง หน่วยงานที่จัดพิมพ์สํานักพิมพ์ฯลฯ โดยแยกตามปีที่จัดหา และแสดงจํานวนรวม
ของทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาได้ในแต่ละปี
รายชื่อหนังสือ 2565
รายชื่อหนังสือ 2566
รายชื่อหนังสือ 2567