2566
2567
2568
2566
ห้องสมุดสีเขียวจะต้องทำการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และสร้างจิตสำนึกเรื่องการอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์ทรัพยากร และการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับบุคลากร ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้
ด้านห้องสมุด
2.1 มีการอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม
-
-
-
กำหนดแผนการอบรม
-
ใบลงทะเบียน (แบบฟอร์ม 2.1) โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
ใบลงทะเบียน(แบบฟอร์ม 2.1) หลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
ประเมินผลการอบรมบุคลากร (แบบฟอร์ม2.1)หลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
ประเมินผลการอบรมบุคลากร (แบบฟอร์ม2.1) หลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
หัวข้ออบรม
-
กำหนดการอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
กำหนดการอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
ข้อสอบอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
ข้อสอบอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
รายงานการอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office)”
-
รายงานการอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
ศึกษาดูงาน
-
ประวัติฝึกอบรมตามรายบุคคล (แบบฟอร์ม 2.1)
-
-
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
-
-
-
ประวัติวิทยากรอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“ห้องสมุดสีเขียว (Green Library) และสำนักงานสีเขียว (Green Office”)
-
ประวัติวิทยากรอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
ใบรองรับการผ่านการอบรมหลักสูตร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ“อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ”
-
ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอกวิทยากร
-
-
2.2 มีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว
แผนการสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2567 (แบบฟอร์ม 2.2 (1))
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1
1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว
2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
3. ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
4. กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว
5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ
กิจกรรมสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของพนักงานในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว
-
-
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟอาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มทร.อีสาน
-
กิจกรรม สวส. รณรงค์ใช้ถุงผ้าและกระบอกน้ำ ลดขยะพลาสติก ลดโลกร้อน
-
กิจกรรม เพิ่มพื้นที่สีเขียว และบำรุงรักษา
-
กิจกรรมส่งมอบปฏิทินเก่า ให้กับศูนย์บริการการศึกษาคนตาบอด นครราชสีมา
-
กิจกรรม สวส. ขยับนับก้าว SEASON 1 – 3
-
กิจกรรม BIG CLEANING DAY
-
กิจกรรม พับถุงยาจากกระดาษรีไซเคิลแก่โรงพยาบาล
-
กิจกรรม ไปรษณีย์ ReBox ครั้งที่ 1 , 2 , 3
-
กิจกรรม ยืมกระเป๋าผ้าเมื่อมายืมหนังสือ
-
กิจกรรม รณรงค์การไม่สูบบุหรี่
-
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว
(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร
ด้านสิ่งแวดล้อม
2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม
(5) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้
– ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
– การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
– การจัดการมลพิษและของเสีย
– การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– ก๊าซเรือนกระจก
(6) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการ อบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(7) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น
(8) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
(3) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
(4) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก หรือประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน
1. นโยบายสิ่งแวดล้อม
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย
4. ความสะอาด และความเป็นระเบียบ (5ส.)
5. เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่น ๆ)
6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย
7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย
8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
9. ก๊าซเรือนกระจก
(6) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(7) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและ ภายนอกสำนักงาน)
(8) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1
รายงานผลการดำเนินงานการรณรงค์สื่อสารและการให้ความรู้สำนักงานสีเขียว (GREEN OFFICE) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มทร.อีสาน
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้
(5) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์
(6) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(7) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
(8) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้ เหมาะสม)
2567
ห้องสมุดสีเขียวจะต้องทำการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และสร้างจิตสำนึกเรื่องการอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์ทรัพยากร และการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับบุคลากร ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้
ด้านห้องสมุด
2.1 มีการอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม
กำหนดแผนการอบรม
ใบลงทะเบียน (แบบฟอร์ม 2.1)
ประเมินผลการอบรมบุคลากร (แบบฟอร์ม2.1)
หัวข้ออบรม
กำหนดการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
ข้อสอบการอบรม
ประวัติฝึกอบรมตามรายบุคคล (แบบฟอร์ม 2.1)
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
2.2 มีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว
แผนการสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2567 (แบบฟอร์ม 2.2 (1))
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1
1. นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว
2. ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
3. ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
4. กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว
5. กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ
กิจกรรมสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของพนักงานในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟอาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มทร.อีสาน ประจำปี 2567
กิจกรรมเพิ่มพื้นที่สีเขียว และบำรุงรักษา
กิจกรรมส่งมอบปฏิทินเก่า
กิจกรรม สวส.ขยับนับก้าว SEASON 4 , 5
กิจกรรม Big Cleaning Day
กิจกรรมพับถุงยาจากกระดาษเหลือใช้
กิจกรรมไปรษณีย์ ReBOX ครั้งที่ 7
กิจกรรมปรับปรุงความเข้มของแสงสว่าง
กิจกรรมรณรงค์ไม่สูบบุหรี่
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว เช่น ไลน์ เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค อีเมล์ กล่องรับความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากการประชุม
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว
(4) มีการรายงานผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และเสนอต่อผู้บริหาร
ด้านสิ่งแวดล้อม
2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม
(5) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้
– ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
– การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
– การจัดการมลพิษและของเสีย
– การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– ก๊าซเรือนกระจก
(6) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการ อบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(7) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น
(8) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
(3) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
(4) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก หรือประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน
1. นโยบายสิ่งแวดล้อม
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย
4. ความสะอาด และความเป็นระเบียบ (5ส.)
5. เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่น ๆ)
6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย
7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย
8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
9. ก๊าซเรือนกระจก
(6) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(7) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและ ภายนอกสำนักงาน)
(8) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1
รายงานผลการดำเนินงานการรณรงค์สื่อสารและการให้ความรู้สำนักงานสีเขียว (GREEN OFFICE)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มทร.อีสาน
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้
(5) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์
(6) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(7) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
(8) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้ เหมาะสม)
2568